การเลือกใช้คอมพิวเตอร์
การเลือกใช้คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่าง ๆ
และธุรกิจขนาดเล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น
ระบบคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ ไมโครคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์พีซีซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ
จนสามารถตอบสนองความต้องการได้ ในราคาที่ถูกลง ค่าบำรุงรักษาต่ำ การใช้งานสะดวกขึ้นและ
มีซอฟต์แวร์สำเร็จรูปให้เลือกใช้งานจำนวนมาก จึงมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานด้านต่าง ๆ
ในวันนี้จะกล่าวถึงการใช้งานคอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา
การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ถูกนำมาใช้ในวงการศึกษาทั้งในสถานศึกษาและการศึกษาด้วยตนเอง
มีโปรแกรมด้านการศึกษา ประเภทบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เกิดขึ้นเป็นจำนวนมากให้ผู้สนใจ
ได้เลือกศึกษาตามความต้องการ ช่วยให้เกิดความเข้าใจในบทเรียนและเป็นการทบทวนความรู้ที่เรียนมาแล้ว
ทำให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันการสื่อสารกว้างไกลขึ้นทำให้การใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษามีมากยิ่งขึ้น
สามารถศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ได้ทั่วโลก เกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ซึ่งการศึกษาในปัจจุบันสนับสนุน
ให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ความรู้ที่ได้จากอินเตอร์เน็ต
จะช่วยให้เกิดบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น
นอกจากนี้สถานศึกษายังนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานบริหารทั่วไปเช่น งานบุคลากร งานการเงิน งานบัญชี งานพัสดุครุภัณฑ์
งานประชาสัมพันธ์ งานการจัดการบริหารการศึกษา เช่น งานทะเบียนนักศึกษา การลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา
การตรวจสอบความถูกต้องในการลงทะเบียนรายวิชาง่ายขึ้น ช่วยให้การรายงานผลการเรียนของนักศึกษาจำนวนมาก
ทำได้ถูกต้องในเวลารวดเร็ว งานแนะแนวการศึกษาและอาชีพ งานพัฒนาวินัยงานกิจกรรมนักศึกษาเป็นต้น
การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์
การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อนำมาใช้ในระบบงาน ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของระบบงานได้ในอนาคต
เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรวดเร็วมาก การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งาน
ต้องพิจารณาจากงานในธุรกิจนั้น แนวโน้มของธุรกิจในอนาคต สิ่งที่ควรพิจารณาคือ
1. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง
สามารถเชื่อมต่อกันเป็นระบบเครือข่ายท้องถิ่น LAN (Local Area Network) และเชื่อมต่อกันเป็นระบบ WAN (Wide Area Network)
โดยผ่านระบบการสื่อสารแบบต่างๆ เช่น ดาวเทียม คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ ฯลฯ และเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ต
ซึ่งเป็นเครือข่ายสากลได้ด้วย เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีประสิทธิภาพสูง ราคาไม่แพง
2. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดกลาง มีระบบการเก็บข้อมูลที่ดีกว่าไมโครคอมพิวเตอร์
จึงเหมาะกับข้อมูลที่ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อยนัก ราคาเครื่องสูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์
3. เมนเฟรม (Mainframe) และ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดใหญ่
ทำหน้าที่เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง มีการประมวลผลข้อมูลที่ซับซ้อน รวดเร็วมาก ประสิทธิภาพสูง ราคาแพง
ต้องใช้สถานที่และสภาพแวดล้อมที่ออกแบบเป็นพิเศษ ควบคุมอุณหภูมิ เป็นต้น
วิธีการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์
การจัดหาระบบคอมพิวเตอร์มี 3 วิธีคือ
1. ระบบจัดซื้อ (Buying) เป็นวิธีที่ประหยัดที่สุดเมื่อเทียบกับวิธีอื่นถ้าใช้เครื่องติดต่อกันเป็นเวลานาน
สามารถใช้เครื่องได้เต็มที่นานเท่าที่ต้องการ ข้อเสียคือ ต้องเสียค่าบำรุงรักษาเครื่องและเสี่ยงต่อการล้าสมัยง่าย
เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัฒนารวดเร็วมาก
2. ระบบการเช่า (Renting) เป็นวิธีที่แพงที่สุดถ้าต้องเช่าติดต่อกันนานหลายปี แต่ผู้เช่าไม่ต้องเสียเงินก้อนใหญ่ในครั้งแรก
ลดความเสี่ยงในเรื่องล้าสมัย สามารถเปลี่ยนระบบได้เมื่อครบกำหนดตามสัญญา ไม่ต้องมีค่าบำรุงรักษา รวมอยู่ในค่าเช่าแล้ว
การใช้ระบบนี้ต้องรอบคอบในเรื่องของเงื่อนไขในสัญญาเช่าทั้งในส่วนของสเปคของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้เช่าและการให้บริการบำรุงรักษา
3. ระบบเช่าซื้อ (Leasing) เป็นระบบผ่อนชำระค่าเครื่องตามระยะเวลาที่กำหนด ถูกกว่าการเช่าแต่แพงกว่าการซื้อ
เพราะรวมค่าบำรุงรักษาเครื่องไว้ด้วย ผู้เช่าซื้อต้องผูกพันต่อสัญญาถ้าเลิกเช่าซื้อก่อนครบกำหนดอาจจะต้องเสียค่าปรับ
โดยค่าเช่าซื้อมักจะลดลงตามระยะเวลาการใช้ ระหว่างการใช้งานผู้มีสิทธิครอบครองจนกว่าจะผ่อนชำระครบ
หลักการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์
การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ จะต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. งบประมาณในการจัดซื้อ
2. ประเภทของงานที่นำคอมพิวเตอร์มาใช้
3. สมรรถนะของเครื่อง
4. ความสามารถในการ Upgrade ในอนาคต
รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ หลัก ๆ โดยทั่วไปมีดังนี้
1. รุ่นและความเร็วในการประมวลผลของ CPU
2. ชนิดและขนาดของหน่วยความจำ RAM
3. ขนาดของหน่วยความจำแคช (Cache Lever 2)
4. ขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์ (Hard disk)
คอมพิวเตอร์พีซีโดยทั่วไปในปัจจุบัน เป็นระบบมัลติมีเดีย สามารถดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม และเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้
การพิจารณารายละเอียดของเครื่องควรดูที่ความเหมาะสมในการนำมาใช้งานมากกว่าการตัดสินใจซื้อตามแฟชั่นหรือ
การเลือกซื้อรุ่นใหม่ล่าสุดเพื่อให้เป็นคนทันสมัย ซึ่งจะทำให้เสียค่าใช้จ่ายแพงเพราะอีกไม่นานก็จะตกรุ่น ราคาก็จะลดลงมาด้วย
และยังเสี่ยงต่อความไม่สมบูรณ์ของเครื่อง เนื่องจากยังมีข้อผิดพลาดในการผลิต จะต้องมีการปรับปรุงอีก
เทคนิคของการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์คือ ควรซื้อเครื่องในรุ่นที่ต่ำกว่ารุ่นที่ออกใหม่ 1 รุ่น จะได้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในราคาถูก
การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเลือกโปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์ โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้เหมาะสมกับระบบคอมพิวเตอร์
และต้องเป็นโปรแกรมที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ เช่น วินโดว์ 9x ขึ้นไป หรือ โปรแกรมฟรี เช่น ลีนุกซ์ เป็นต้น
จากนั้นเลือกโปรแกรมที่เหมาะสมกับงาน การจัดหาโปรแกรมมี 3 วิธีคือ
1. โปรแกรมสำเร็จรูป (Package Program) เป็นโปรแกรมที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงาน
สามารถเลือกซื้อใช้ได้ตามความต้องการ เช่น สำหรับสำนักงาน (Office) ประกอบด้วย
โปรแกรมประมวลผลคำ (Word Processing: MS-Word) โปรแกรมตารางทำงาน (Spread sheet: Excel, Lotus1-2-3)
โปรแกรมเสนองาน(Presentation: PowerPoint) โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Data Base: Access, dBase, FoxBASE, FoxPro)
2. โปรแกรมประยุกต์ (Application Program: User Program) หมายถึงโปรแกรมที่เขียนขึ้นใช้เองตามความต้องการ
เพื่องานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรมสำหรับระบบงานบัญชี โปรแกรมสำหรับงานการเรียนการสอน เป็นต้น
ซึ่งโปรแกรมประเภทนี้อาจใช้โปรแกรมเมอร์ขององค์กรเขียนขึ้นหรือว่าจ้างบริษัทรับจ้างเขียนโปรแกรม ค่าใช้จ่ายจะสูงกว่า
การซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้ แต่จะตรงกับความต้องการมากกว่า
3. โปรแกรมที่เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบ (Program Tools) ได้แก่ โปรแกรมประเภท CASE เช่น Excelerator
ซึ่งโปรแกรมเมอร์ใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบงาน
ขั้นตอนในการเลือกโปรแกรมให้เหมาะสมกับลักษณะของงานมีดังนี้
1. ตรงกับความต้องการ (Requirement) สามารถทำงานได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้
2. มีประสิทธิภาพ (Performance) สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง
3. ง่ายต่อการใช้งาน (Easy to use) สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่าย ในระยะเวลาอันสั้น และมีเมนูช่วยเหลือ (Help menu)
ในระหว่างการใช้งาน
4. มีความยืดหยุ่น (Flexibility) สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกันสามารถรับส่งข้อมูลกับโปรแกรมอื่น ๆ
ได้ รวมทั้งสามารถใช้งานกับอุปกรณ์แสดงผลได้หลายชนิด เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์
5. คู่มือการใช้งานที่มีคุณภาพ (Quality of Documentation) ต้องสามารถอธิบายหรือให้คำแนะนำต่อผู้ใช้งานเมื่อเกิดปัญหาขึ้น
ช่วยให้แก้ไขปัญหาได้เมื่อปฏิบัติตาม
6. การรับรองผลิตภัณฑ์ (Manufacture Support) ผู้ผลิตหรือผู้ขายรับรองผลิตภัณฑ์ของตน บริการให้คำปรึกษาเมื่อมีปัญหาจากการใช้ผลิตภัณฑ์
แจ้งข่าวสารการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ให้บริการ Upgrade ฟรีเป็นต้น
การใช้โปรแกรมควรมีการตรวจสอบความถูกต้อง โดยการนำข้อมูลจริงบันทึกลงบนโปรแกรมนั้น หลังจากประมวลผลแล้ว
ดูผลลัพธ์ที่ได้ถูกต้องตรงกับความต้องการหรือไม่..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/150911
การเลือกใช้คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในงานด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นหน่วยงานราชการ องค์กรต่าง ๆ
และธุรกิจขนาดเล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น
ระบบคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ ไมโครคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์พีซีซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ
จนสามารถตอบสนองความต้องการได้ ในราคาที่ถูกลง ค่าบำรุงรักษาต่ำ การใช้งานสะดวกขึ้นและ
มีซอฟต์แวร์สำเร็จรูปให้เลือกใช้งานจำนวนมาก จึงมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานด้านต่าง ๆ
ในวันนี้จะกล่าวถึงการใช้งานคอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา
การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ถูกนำมาใช้ในวงการศึกษาทั้งในสถานศึกษาและการศึกษาด้วยตนเอง
มีโปรแกรมด้านการศึกษา ประเภทบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เกิดขึ้นเป็นจำนวนมากให้ผู้สนใจ
ได้เลือกศึกษาตามความต้องการ ช่วยให้เกิดความเข้าใจในบทเรียนและเป็นการทบทวนความรู้ที่เรียนมาแล้ว
ทำให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันการสื่อสารกว้างไกลขึ้นทำให้การใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษามีมากยิ่งขึ้น
สามารถศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ได้ทั่วโลก เกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ซึ่งการศึกษาในปัจจุบันสนับสนุน
ให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ความรู้ที่ได้จากอินเตอร์เน็ต
จะช่วยให้เกิดบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น
นอกจากนี้สถานศึกษายังนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานบริหารทั่วไปเช่น งานบุคลากร งานการเงิน งานบัญชี งานพัสดุครุภัณฑ์
งานประชาสัมพันธ์ งานการจัดการบริหารการศึกษา เช่น งานทะเบียนนักศึกษา การลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา
การตรวจสอบความถูกต้องในการลงทะเบียนรายวิชาง่ายขึ้น ช่วยให้การรายงานผลการเรียนของนักศึกษาจำนวนมาก
ทำได้ถูกต้องในเวลารวดเร็ว งานแนะแนวการศึกษาและอาชีพ งานพัฒนาวินัยงานกิจกรรมนักศึกษาเป็นต้น
การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์
การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อนำมาใช้ในระบบงาน ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของระบบงานได้ในอนาคต
เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรวดเร็วมาก การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งาน
ต้องพิจารณาจากงานในธุรกิจนั้น แนวโน้มของธุรกิจในอนาคต สิ่งที่ควรพิจารณาคือ
1. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง
สามารถเชื่อมต่อกันเป็นระบบเครือข่ายท้องถิ่น LAN (Local Area Network) และเชื่อมต่อกันเป็นระบบ WAN (Wide Area Network)
โดยผ่านระบบการสื่อสารแบบต่างๆ เช่น ดาวเทียม คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ ฯลฯ และเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ต
ซึ่งเป็นเครือข่ายสากลได้ด้วย เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีประสิทธิภาพสูง ราคาไม่แพง
2. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดกลาง มีระบบการเก็บข้อมูลที่ดีกว่าไมโครคอมพิวเตอร์
จึงเหมาะกับข้อมูลที่ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อยนัก ราคาเครื่องสูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์
3. เมนเฟรม (Mainframe) และ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดใหญ่
ทำหน้าที่เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง มีการประมวลผลข้อมูลที่ซับซ้อน รวดเร็วมาก ประสิทธิภาพสูง ราคาแพง
ต้องใช้สถานที่และสภาพแวดล้อมที่ออกแบบเป็นพิเศษ ควบคุมอุณหภูมิ เป็นต้น
วิธีการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์
การจัดหาระบบคอมพิวเตอร์มี 3 วิธีคือ
1. ระบบจัดซื้อ (Buying) เป็นวิธีที่ประหยัดที่สุดเมื่อเทียบกับวิธีอื่นถ้าใช้เครื่องติดต่อกันเป็นเวลานาน
สามารถใช้เครื่องได้เต็มที่นานเท่าที่ต้องการ ข้อเสียคือ ต้องเสียค่าบำรุงรักษาเครื่องและเสี่ยงต่อการล้าสมัยง่าย
เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัฒนารวดเร็วมาก
2. ระบบการเช่า (Renting) เป็นวิธีที่แพงที่สุดถ้าต้องเช่าติดต่อกันนานหลายปี แต่ผู้เช่าไม่ต้องเสียเงินก้อนใหญ่ในครั้งแรก
ลดความเสี่ยงในเรื่องล้าสมัย สามารถเปลี่ยนระบบได้เมื่อครบกำหนดตามสัญญา ไม่ต้องมีค่าบำรุงรักษา รวมอยู่ในค่าเช่าแล้ว
การใช้ระบบนี้ต้องรอบคอบในเรื่องของเงื่อนไขในสัญญาเช่าทั้งในส่วนของสเปคของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้เช่าและการให้บริการบำรุงรักษา
3. ระบบเช่าซื้อ (Leasing) เป็นระบบผ่อนชำระค่าเครื่องตามระยะเวลาที่กำหนด ถูกกว่าการเช่าแต่แพงกว่าการซื้อ
เพราะรวมค่าบำรุงรักษาเครื่องไว้ด้วย ผู้เช่าซื้อต้องผูกพันต่อสัญญาถ้าเลิกเช่าซื้อก่อนครบกำหนดอาจจะต้องเสียค่าปรับ
โดยค่าเช่าซื้อมักจะลดลงตามระยะเวลาการใช้ ระหว่างการใช้งานผู้มีสิทธิครอบครองจนกว่าจะผ่อนชำระครบ
หลักการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์
การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ จะต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. งบประมาณในการจัดซื้อ
2. ประเภทของงานที่นำคอมพิวเตอร์มาใช้
3. สมรรถนะของเครื่อง
4. ความสามารถในการ Upgrade ในอนาคต
รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ หลัก ๆ โดยทั่วไปมีดังนี้
1. รุ่นและความเร็วในการประมวลผลของ CPU
2. ชนิดและขนาดของหน่วยความจำ RAM
3. ขนาดของหน่วยความจำแคช (Cache Lever 2)
4. ขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์ (Hard disk)
คอมพิวเตอร์พีซีโดยทั่วไปในปัจจุบัน เป็นระบบมัลติมีเดีย สามารถดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม และเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้
การพิจารณารายละเอียดของเครื่องควรดูที่ความเหมาะสมในการนำมาใช้งานมากกว่าการตัดสินใจซื้อตามแฟชั่นหรือ
การเลือกซื้อรุ่นใหม่ล่าสุดเพื่อให้เป็นคนทันสมัย ซึ่งจะทำให้เสียค่าใช้จ่ายแพงเพราะอีกไม่นานก็จะตกรุ่น ราคาก็จะลดลงมาด้วย
และยังเสี่ยงต่อความไม่สมบูรณ์ของเครื่อง เนื่องจากยังมีข้อผิดพลาดในการผลิต จะต้องมีการปรับปรุงอีก
เทคนิคของการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์คือ ควรซื้อเครื่องในรุ่นที่ต่ำกว่ารุ่นที่ออกใหม่ 1 รุ่น จะได้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในราคาถูก
การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเลือกโปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์ โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้เหมาะสมกับระบบคอมพิวเตอร์
และต้องเป็นโปรแกรมที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ เช่น วินโดว์ 9x ขึ้นไป หรือ โปรแกรมฟรี เช่น ลีนุกซ์ เป็นต้น
จากนั้นเลือกโปรแกรมที่เหมาะสมกับงาน การจัดหาโปรแกรมมี 3 วิธีคือ
1. โปรแกรมสำเร็จรูป (Package Program) เป็นโปรแกรมที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงาน
สามารถเลือกซื้อใช้ได้ตามความต้องการ เช่น สำหรับสำนักงาน (Office) ประกอบด้วย
โปรแกรมประมวลผลคำ (Word Processing: MS-Word) โปรแกรมตารางทำงาน (Spread sheet: Excel, Lotus1-2-3)
โปรแกรมเสนองาน(Presentation: PowerPoint) โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Data Base: Access, dBase, FoxBASE, FoxPro)
2. โปรแกรมประยุกต์ (Application Program: User Program) หมายถึงโปรแกรมที่เขียนขึ้นใช้เองตามความต้องการ
เพื่องานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรมสำหรับระบบงานบัญชี โปรแกรมสำหรับงานการเรียนการสอน เป็นต้น
ซึ่งโปรแกรมประเภทนี้อาจใช้โปรแกรมเมอร์ขององค์กรเขียนขึ้นหรือว่าจ้างบริษัทรับจ้างเขียนโปรแกรม ค่าใช้จ่ายจะสูงกว่า
การซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้ แต่จะตรงกับความต้องการมากกว่า
3. โปรแกรมที่เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบ (Program Tools) ได้แก่ โปรแกรมประเภท CASE เช่น Excelerator
ซึ่งโปรแกรมเมอร์ใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบงาน
ขั้นตอนในการเลือกโปรแกรมให้เหมาะสมกับลักษณะของงานมีดังนี้
1. ตรงกับความต้องการ (Requirement) สามารถทำงานได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้
2. มีประสิทธิภาพ (Performance) สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง
3. ง่ายต่อการใช้งาน (Easy to use) สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่าย ในระยะเวลาอันสั้น และมีเมนูช่วยเหลือ (Help menu)
ในระหว่างการใช้งาน
4. มีความยืดหยุ่น (Flexibility) สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกันสามารถรับส่งข้อมูลกับโปรแกรมอื่น ๆ
ได้ รวมทั้งสามารถใช้งานกับอุปกรณ์แสดงผลได้หลายชนิด เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์
5. คู่มือการใช้งานที่มีคุณภาพ (Quality of Documentation) ต้องสามารถอธิบายหรือให้คำแนะนำต่อผู้ใช้งานเมื่อเกิดปัญหาขึ้น
ช่วยให้แก้ไขปัญหาได้เมื่อปฏิบัติตาม
6. การรับรองผลิตภัณฑ์ (Manufacture Support) ผู้ผลิตหรือผู้ขายรับรองผลิตภัณฑ์ของตน บริการให้คำปรึกษาเมื่อมีปัญหาจากการใช้ผลิตภัณฑ์
แจ้งข่าวสารการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ให้บริการ Upgrade ฟรีเป็นต้น
การใช้โปรแกรมควรมีการตรวจสอบความถูกต้อง โดยการนำข้อมูลจริงบันทึกลงบนโปรแกรมนั้น หลังจากประมวลผลแล้ว
ดูผลลัพธ์ที่ได้ถูกต้องตรงกับความต้องการหรือไม่..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/150911
และธุรกิจขนาดเล็ก กลาง หรือใหญ่ โดยเลือกใช้ระบบคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับหน่วยงานหรือองค์กรนั้น
ระบบคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้คือ ไมโครคอมพิวเตอร์หรือคอมพิวเตอร์พีซีซึ่งได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ
จนสามารถตอบสนองความต้องการได้ ในราคาที่ถูกลง ค่าบำรุงรักษาต่ำ การใช้งานสะดวกขึ้นและ
มีซอฟต์แวร์สำเร็จรูปให้เลือกใช้งานจำนวนมาก จึงมีการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานด้านต่าง ๆ
ในวันนี้จะกล่าวถึงการใช้งานคอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา
การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการศึกษา
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ถูกนำมาใช้ในวงการศึกษาทั้งในสถานศึกษาและการศึกษาด้วยตนเอง
มีโปรแกรมด้านการศึกษา ประเภทบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เกิดขึ้นเป็นจำนวนมากให้ผู้สนใจ
ได้เลือกศึกษาตามความต้องการ ช่วยให้เกิดความเข้าใจในบทเรียนและเป็นการทบทวนความรู้ที่เรียนมาแล้ว
ทำให้เกิดความเข้าใจมากยิ่งขึ้น ปัจจุบันการสื่อสารกว้างไกลขึ้นทำให้การใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษามีมากยิ่งขึ้น
สามารถศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ได้ทั่วโลก เกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ซึ่งการศึกษาในปัจจุบันสนับสนุน
ให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง ความรู้ที่ได้จากอินเตอร์เน็ต
จะช่วยให้เกิดบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น
นอกจากนี้สถานศึกษายังนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานบริหารทั่วไปเช่น งานบุคลากร งานการเงิน งานบัญชี งานพัสดุครุภัณฑ์
งานประชาสัมพันธ์ งานการจัดการบริหารการศึกษา เช่น งานทะเบียนนักศึกษา การลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา
การตรวจสอบความถูกต้องในการลงทะเบียนรายวิชาง่ายขึ้น ช่วยให้การรายงานผลการเรียนของนักศึกษาจำนวนมาก
ทำได้ถูกต้องในเวลารวดเร็ว งานแนะแนวการศึกษาและอาชีพ งานพัฒนาวินัยงานกิจกรรมนักศึกษาเป็นต้น
การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์
การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อนำมาใช้ในระบบงาน ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของระบบงานได้ในอนาคต
เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรวดเร็วมาก การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งาน
ต้องพิจารณาจากงานในธุรกิจนั้น แนวโน้มของธุรกิจในอนาคต สิ่งที่ควรพิจารณาคือ
1. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง
สามารถเชื่อมต่อกันเป็นระบบเครือข่ายท้องถิ่น LAN (Local Area Network) และเชื่อมต่อกันเป็นระบบ WAN (Wide Area Network)
โดยผ่านระบบการสื่อสารแบบต่างๆ เช่น ดาวเทียม คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ ฯลฯ และเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ต
ซึ่งเป็นเครือข่ายสากลได้ด้วย เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่มีประสิทธิภาพสูง ราคาไม่แพง
2. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดกลาง มีระบบการเก็บข้อมูลที่ดีกว่าไมโครคอมพิวเตอร์
จึงเหมาะกับข้อมูลที่ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อยนัก ราคาเครื่องสูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์
3. เมนเฟรม (Mainframe) และ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดใหญ่
ทำหน้าที่เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง มีการประมวลผลข้อมูลที่ซับซ้อน รวดเร็วมาก ประสิทธิภาพสูง ราคาแพง
ต้องใช้สถานที่และสภาพแวดล้อมที่ออกแบบเป็นพิเศษ ควบคุมอุณหภูมิ เป็นต้น
วิธีการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์
การจัดหาระบบคอมพิวเตอร์มี 3 วิธีคือ
1. ระบบจัดซื้อ (Buying) เป็นวิธีที่ประหยัดที่สุดเมื่อเทียบกับวิธีอื่นถ้าใช้เครื่องติดต่อกันเป็นเวลานาน
สามารถใช้เครื่องได้เต็มที่นานเท่าที่ต้องการ ข้อเสียคือ ต้องเสียค่าบำรุงรักษาเครื่องและเสี่ยงต่อการล้าสมัยง่าย
เนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัฒนารวดเร็วมาก
2. ระบบการเช่า (Renting) เป็นวิธีที่แพงที่สุดถ้าต้องเช่าติดต่อกันนานหลายปี แต่ผู้เช่าไม่ต้องเสียเงินก้อนใหญ่ในครั้งแรก
ลดความเสี่ยงในเรื่องล้าสมัย สามารถเปลี่ยนระบบได้เมื่อครบกำหนดตามสัญญา ไม่ต้องมีค่าบำรุงรักษา รวมอยู่ในค่าเช่าแล้ว
การใช้ระบบนี้ต้องรอบคอบในเรื่องของเงื่อนไขในสัญญาเช่าทั้งในส่วนของสเปคของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้เช่าและการให้บริการบำรุงรักษา
3. ระบบเช่าซื้อ (Leasing) เป็นระบบผ่อนชำระค่าเครื่องตามระยะเวลาที่กำหนด ถูกกว่าการเช่าแต่แพงกว่าการซื้อ
เพราะรวมค่าบำรุงรักษาเครื่องไว้ด้วย ผู้เช่าซื้อต้องผูกพันต่อสัญญาถ้าเลิกเช่าซื้อก่อนครบกำหนดอาจจะต้องเสียค่าปรับ
โดยค่าเช่าซื้อมักจะลดลงตามระยะเวลาการใช้ ระหว่างการใช้งานผู้มีสิทธิครอบครองจนกว่าจะผ่อนชำระครบ
หลักการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์
การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ จะต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้
1. งบประมาณในการจัดซื้อ
2. ประเภทของงานที่นำคอมพิวเตอร์มาใช้
3. สมรรถนะของเครื่อง
4. ความสามารถในการ Upgrade ในอนาคต
รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ หลัก ๆ โดยทั่วไปมีดังนี้
1. รุ่นและความเร็วในการประมวลผลของ CPU
2. ชนิดและขนาดของหน่วยความจำ RAM
3. ขนาดของหน่วยความจำแคช (Cache Lever 2)
4. ขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์ (Hard disk)
คอมพิวเตอร์พีซีโดยทั่วไปในปัจจุบัน เป็นระบบมัลติมีเดีย สามารถดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม และเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้
การพิจารณารายละเอียดของเครื่องควรดูที่ความเหมาะสมในการนำมาใช้งานมากกว่าการตัดสินใจซื้อตามแฟชั่นหรือ
การเลือกซื้อรุ่นใหม่ล่าสุดเพื่อให้เป็นคนทันสมัย ซึ่งจะทำให้เสียค่าใช้จ่ายแพงเพราะอีกไม่นานก็จะตกรุ่น ราคาก็จะลดลงมาด้วย
และยังเสี่ยงต่อความไม่สมบูรณ์ของเครื่อง เนื่องจากยังมีข้อผิดพลาดในการผลิต จะต้องมีการปรับปรุงอีก
เทคนิคของการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์คือ ควรซื้อเครื่องในรุ่นที่ต่ำกว่ารุ่นที่ออกใหม่ 1 รุ่น จะได้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในราคาถูก
การเลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การเลือกโปรแกรมสำหรับคอมพิวเตอร์ โปรแกรมแรกคือระบบปฏิบัติการ ต้องให้เหมาะสมกับระบบคอมพิวเตอร์
และต้องเป็นโปรแกรมที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์ เช่น วินโดว์ 9x ขึ้นไป หรือ โปรแกรมฟรี เช่น ลีนุกซ์ เป็นต้น
จากนั้นเลือกโปรแกรมที่เหมาะสมกับงาน การจัดหาโปรแกรมมี 3 วิธีคือ
1. โปรแกรมสำเร็จรูป (Package Program) เป็นโปรแกรมที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงาน
สามารถเลือกซื้อใช้ได้ตามความต้องการ เช่น สำหรับสำนักงาน (Office) ประกอบด้วย
โปรแกรมประมวลผลคำ (Word Processing: MS-Word) โปรแกรมตารางทำงาน (Spread sheet: Excel, Lotus1-2-3)
โปรแกรมเสนองาน(Presentation: PowerPoint) โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Data Base: Access, dBase, FoxBASE, FoxPro)
2. โปรแกรมประยุกต์ (Application Program: User Program) หมายถึงโปรแกรมที่เขียนขึ้นใช้เองตามความต้องการ
เพื่องานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรมสำหรับระบบงานบัญชี โปรแกรมสำหรับงานการเรียนการสอน เป็นต้น
ซึ่งโปรแกรมประเภทนี้อาจใช้โปรแกรมเมอร์ขององค์กรเขียนขึ้นหรือว่าจ้างบริษัทรับจ้างเขียนโปรแกรม ค่าใช้จ่ายจะสูงกว่า
การซื้อโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้ แต่จะตรงกับความต้องการมากกว่า
3. โปรแกรมที่เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบ (Program Tools) ได้แก่ โปรแกรมประเภท CASE เช่น Excelerator
ซึ่งโปรแกรมเมอร์ใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบงาน
ขั้นตอนในการเลือกโปรแกรมให้เหมาะสมกับลักษณะของงานมีดังนี้
1. ตรงกับความต้องการ (Requirement) สามารถทำงานได้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้
2. มีประสิทธิภาพ (Performance) สามารถจัดการกับข้อมูลได้ดี การแสดงผล การประมวลผลรวดเร็วและถูกต้อง
3. ง่ายต่อการใช้งาน (Easy to use) สามารถเรียนรู้วิธีการใช้งานได้ง่าย ในระยะเวลาอันสั้น และมีเมนูช่วยเหลือ (Help menu)
ในระหว่างการใช้งาน
4. มีความยืดหยุ่น (Flexibility) สามารถใช้ได้กับระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกันสามารถรับส่งข้อมูลกับโปรแกรมอื่น ๆ
ได้ รวมทั้งสามารถใช้งานกับอุปกรณ์แสดงผลได้หลายชนิด เช่น จอภาพ เครื่องพิมพ์
5. คู่มือการใช้งานที่มีคุณภาพ (Quality of Documentation) ต้องสามารถอธิบายหรือให้คำแนะนำต่อผู้ใช้งานเมื่อเกิดปัญหาขึ้น
ช่วยให้แก้ไขปัญหาได้เมื่อปฏิบัติตาม
6. การรับรองผลิตภัณฑ์ (Manufacture Support) ผู้ผลิตหรือผู้ขายรับรองผลิตภัณฑ์ของตน บริการให้คำปรึกษาเมื่อมีปัญหาจากการใช้ผลิตภัณฑ์
แจ้งข่าวสารการปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ให้บริการ Upgrade ฟรีเป็นต้น
การใช้โปรแกรมควรมีการตรวจสอบความถูกต้อง โดยการนำข้อมูลจริงบันทึกลงบนโปรแกรมนั้น หลังจากประมวลผลแล้ว
ดูผลลัพธ์ที่ได้ถูกต้องตรงกับความต้องการหรือไม่..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/150911
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น